การบริหารคนดื้อ (ของ ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ)ซึ่งน่าจะเป็นประโยชน์กับผู้ซึ่งมีหน้าที่ เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการคนดังนี้
1. บันทึกรายชื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder) ทั้งหมดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง และจะให้เขา มีส่วนร่วมใน การเปลี่ยนแปลงด้วยหรือไม่
2. เราจะเลือกใช้หลักการใดในการเจรจา โดยพูดแบบปิยวาจาดีที่สุด ชี้แจงผลประโยชน์ให้ชัด ๆ
3. อย่าดันทุรังเปลี่ยนแปลงในเร็ววัน จงหยุดเมื่อเห็นว่า อุณหภูมิหรืออารมณ์เริ่มร้อนแรง
4. จงจำไว้ว่าถ้าคิดจะเปลี่ยนแปลงใคร จงเปลี่ยนแปลงตนเองดีกว่า ง่ายที่สุด อยากให้คนอื่น เป็นอย่างไรเราก็จงทำอย่างนั้น อยากให้เขายอมรับเรา เราต้องยอมรับเขาก่อน
5. สร้างวิสัยทัศน์ให้ชัดเจน อาจจะชี้แจงเป้าหมายองค์การ เพื่อให้ทุกคนมีเป้าหมายร่วมกัน
6. ศึกษาอารมณ์ของผู้ที่ถูกเปลี่ยนแปลงว่า เวลาใดเหมาะกับการเจรจามากที่สุด
7. ใช้ความจริง สถิติ ข้อมูล ทำตารางชี้แจงว่าทางเลือกต่าง ๆ ได้เสียอย่างไรบ้าง เช่น อาจทำตารางให้คะแนน เพื่อจัดลำดับความสำคัญ
8. ใช้กิจกรรมกลุ่มที่ทุกคนมีส่วนร่วม โดยใช้หลักการแก้ปัญหาแบบที่ทำในองค์การโดยผู้บริหาร
และทุกคนมีส่วนร่วม
9. ภาษาที่เจ้านายสนใจ คือกำไรคุ้มทุน เมื่อเสนอทางเลือกให้เจ้านาย จงเตรียมตอบเรื่องกำไรคุ้มทุนให้ดี ๆ
10. ภาษาที่ลูกน้องสนใจ คือ ฉันจะได้อะไร เจ้านายต้อง น่าเชื่อถือได้ มีวาจาเป็นสัจจะ
11. การเปลี่ยนแปลงมีหลายแบบ เช่น ทยอยทำ ทำพร้อม ๆ กันทั้งองค์การ ทำหลังอบรม
1. บันทึกรายชื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder) ทั้งหมดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง และจะให้เขา มีส่วนร่วมใน การเปลี่ยนแปลงด้วยหรือไม่
2. เราจะเลือกใช้หลักการใดในการเจรจา โดยพูดแบบปิยวาจาดีที่สุด ชี้แจงผลประโยชน์ให้ชัด ๆ
3. อย่าดันทุรังเปลี่ยนแปลงในเร็ววัน จงหยุดเมื่อเห็นว่า อุณหภูมิหรืออารมณ์เริ่มร้อนแรง
4. จงจำไว้ว่าถ้าคิดจะเปลี่ยนแปลงใคร จงเปลี่ยนแปลงตนเองดีกว่า ง่ายที่สุด อยากให้คนอื่น เป็นอย่างไรเราก็จงทำอย่างนั้น อยากให้เขายอมรับเรา เราต้องยอมรับเขาก่อน
5. สร้างวิสัยทัศน์ให้ชัดเจน อาจจะชี้แจงเป้าหมายองค์การ เพื่อให้ทุกคนมีเป้าหมายร่วมกัน
6. ศึกษาอารมณ์ของผู้ที่ถูกเปลี่ยนแปลงว่า เวลาใดเหมาะกับการเจรจามากที่สุด
7. ใช้ความจริง สถิติ ข้อมูล ทำตารางชี้แจงว่าทางเลือกต่าง ๆ ได้เสียอย่างไรบ้าง เช่น อาจทำตารางให้คะแนน เพื่อจัดลำดับความสำคัญ
8. ใช้กิจกรรมกลุ่มที่ทุกคนมีส่วนร่วม โดยใช้หลักการแก้ปัญหาแบบที่ทำในองค์การโดยผู้บริหาร
และทุกคนมีส่วนร่วม
9. ภาษาที่เจ้านายสนใจ คือกำไรคุ้มทุน เมื่อเสนอทางเลือกให้เจ้านาย จงเตรียมตอบเรื่องกำไรคุ้มทุนให้ดี ๆ
10. ภาษาที่ลูกน้องสนใจ คือ ฉันจะได้อะไร เจ้านายต้อง น่าเชื่อถือได้ มีวาจาเป็นสัจจะ
11. การเปลี่ยนแปลงมีหลายแบบ เช่น ทยอยทำ ทำพร้อม ๆ กันทั้งองค์การ ทำหลังอบรม
โดยวิทยากรจุดประกาย, มีการอบรมอย่างสม่ำเสมอ
12. ในการเปลี่ยนแปลง เราต้องแยกให้ออกว่า อะไรคืออุปสรรค และอะไรคือตัวแปร
12. ในการเปลี่ยนแปลง เราต้องแยกให้ออกว่า อะไรคืออุปสรรค และอะไรคือตัวแปร
ที่ควบคุมได้
13. ความเชื่อที่ว่า เมื่อขึ้นเงินเดือนแล้ว พนักงานจะทำงานดีขึ้น นั้นไม่จริง ควรใช้อย่างอื่น
ที่ไม่ใช่เงินไปก่อน เช่น รางวัล โบนัส แบ่งกำไร ไปเที่ยว
14. เตรียม Emergency Plan ไว้ รองรับการเปลี่ยนที่นึกไม่ถึงเสมอ ๆ
15. สร้างพระเดชและพระคุณ เช่น ให้ธรรมะเป็นทาน ให้โอกาส ให้กำลังใจ ให้ความรู้
สอนให้รู้วิธีการเรียนรู้
16. จงอย่าต้อนใครจนมุม
17. ไล่ตัวเองออกไป เราอาจเป็นตัวปัญหา ลองคิดใหม่ทำใหม่หรือพบกันครึ่งทาง
13. ความเชื่อที่ว่า เมื่อขึ้นเงินเดือนแล้ว พนักงานจะทำงานดีขึ้น นั้นไม่จริง ควรใช้อย่างอื่น
ที่ไม่ใช่เงินไปก่อน เช่น รางวัล โบนัส แบ่งกำไร ไปเที่ยว
14. เตรียม Emergency Plan ไว้ รองรับการเปลี่ยนที่นึกไม่ถึงเสมอ ๆ
15. สร้างพระเดชและพระคุณ เช่น ให้ธรรมะเป็นทาน ให้โอกาส ให้กำลังใจ ให้ความรู้
สอนให้รู้วิธีการเรียนรู้
16. จงอย่าต้อนใครจนมุม
17. ไล่ตัวเองออกไป เราอาจเป็นตัวปัญหา ลองคิดใหม่ทำใหม่หรือพบกันครึ่งทาง
18. เปลี่ยนตัวผู้บริหาร บ่อยครั้งปัญหาอยู่ที่เจ้านาย ไม่ใช่ลูกน้อง
19. สติของเราเอง คือ สิ่งที่ดีที่สุดในการเปลี่ยนแปลง จงมีสติ
การบริหารเป็นศาสตร์ และศิลป์ ที่ผู้บริหารจำเป็นต้องปรับประยุกต์นำกลยุทธ์ต่าง ๆ มาใช้เพื่อช่วยให้การบริหารจัดการทั้งงาน เงิน และประสานกัน เพื่อ สนับสนุนเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ขององค์การโดยเฉพาะอย่างยิ่งการบริหารคนซึ่ง ถือเป็นบทพิสูจน์ความสามารถด้านการบริหารจัดการของผู้บริหาร หากคิดในเชิงบวกแล้วการที่ผู้บริหารต้องเผชิญกับคนดื้อมากเท่าใด ยิ่งเป็นงานท้าทาย ความสามารถก่อนมีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ผู้บริหารควรใช้เวลาให้มากในการวางแผน เพื่อบริหาร การ เปลี่ยนแปลงอย่างเป็นระบบและต้องเลือกใช้กลยุทธ์อย่างเหมาะสม มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับ วัฒนธรรมองค์การและสถานการณ์ให้มากที่สุดด้วย
19. สติของเราเอง คือ สิ่งที่ดีที่สุดในการเปลี่ยนแปลง จงมีสติ
การบริหารเป็นศาสตร์ และศิลป์ ที่ผู้บริหารจำเป็นต้องปรับประยุกต์นำกลยุทธ์ต่าง ๆ มาใช้เพื่อช่วยให้การบริหารจัดการทั้งงาน เงิน และประสานกัน เพื่อ สนับสนุนเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ขององค์การโดยเฉพาะอย่างยิ่งการบริหารคนซึ่ง ถือเป็นบทพิสูจน์ความสามารถด้านการบริหารจัดการของผู้บริหาร หากคิดในเชิงบวกแล้วการที่ผู้บริหารต้องเผชิญกับคนดื้อมากเท่าใด ยิ่งเป็นงานท้าทาย ความสามารถก่อนมีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ผู้บริหารควรใช้เวลาให้มากในการวางแผน เพื่อบริหาร การ เปลี่ยนแปลงอย่างเป็นระบบและต้องเลือกใช้กลยุทธ์อย่างเหมาะสม มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับ วัฒนธรรมองค์การและสถานการณ์ให้มากที่สุดด้วย
ข้าพเจ้ามีความคิดเห็นว่าหากจะเป็นนักบริหารที่ดี อันดับแรกควรบริหารตนเองก่อน การที่จะให้ใครทำตามใจเรานั้นต้องใช้ทั้งศาสตร์และศิลป์ควบคู่กัน การบริหารจะยากหรือง่ายนั้นสิ่งที่สำคัญที่สุดคือ การบริหารอารมณ์ของตนเองให้มั่นคง มีสติอยู่เสมอ ถือหลักไตรลักษณ์ คือ ศีล สมาธิและปัญญา จะสามารถเแก้ปัญหาได้ทุกสถานการณ์ รวมทั้งเตรียมแผนเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง
ที่มา